เรื่องการสร้างเหรียญรุ่นนี้คงต้องย้อนกลับไปในปี 2513 เมื่อคราวหลวงพ่ออายุครบ 80 ปี ในวันที่ 13 กันยายน 2513 ซึ่งถือว่าเป็นแซยิดครั้งหนึ่งเช่นกัน ทางกรรมการวัดได้ขออนุญาตหลวงพ่อจัดสร้างพระขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อฉลองวาระนั้นไว้เป็นที่ระลึก โดยหลวงพ่อท่านได้อนุญาตจัดสร้างออกมากเป็น 2 แบบ คือพระกริ่งชุดหนึ่งและเหรียญปั๊มรูปเหมือนอีกชุดหนึ่ง โดยพระกริ่งนั้นคือกริ่งพันตึงทอง ที่ผมเคยกล่าวไว้ในเรื่องคนหล่อแห่งดอนยายหอมไปแล้ว จึงไม่ขอกล่าวถึงในที่นี้อีก โดยส่วนเหรียญปั๊มนั้นได้ตัดสินใจให้สร้างมาเป็นเหรียญรูปไข่ขนาดกำลังงาม คือสูงราว 2 นิ้วและกว้างราว 1.2 นิ้ว โดยกำหนดให้มีเอกลักษณ์กว่ารุ่นอื่นตรงที่รูปเหมือนหลวงพ่อนั้นจะไม่ใช่หน้าตรงเหมือนรุ่นก่อนๆ แต่จะใช้รูปเหมือนหันข้างของหลวงพ่อแทน สัณฐานรูปทรงเหรียญเป็นเหรียญไข่หูในตัวขนาดอย่างที่บอกไว้ข้างต้น เว้นแต่บล็อกไข่ยาวที่จะมีความยาวกว่าบล็อกอื่นคือยาวราว 2.2 นิ้ว แลเรื่องการสร้างเหรียญรุ่นนี้คงต้องย้อนกลับไปในปี 2513 เมื่อคราวหลวงพ่ออายุครบ 80 ปี ในวันที่ 13 กันยายน 2513 ซึ่งถือว่าเป็นแซยิดครั้งหนึ่งเช่นกัน ทางกรรมการวัดได้ขออนุญาตหลวงพ่อจัดสร้างพระขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อฉลองวาระนั้นไว้เป็นที่ระลึก โดยหลวงพ่อท่านได้อนุญาตจัดสร้างออกมากเป็น 2 แบบ คือพระกริ่งชุดหนึ่งและเหรียญปั๊มรูปเหมือนอีกชุดหนึ่ง โดยพระกริ่งนั้นคือกริ่งพันตึงทอง ที่ผมเคยกล่าวไว้ในเรื่องคนหล่อแห่งดอนยายหอมไปแล้ว จึงไม่ขอกล่าวถึงในที่นี้อีก โดยส่วนเหรียญปั๊มนั้นได้ตัดสินใจให้สร้างมาเป็นเหรียญรูปไข่ขนาดกำลังงาม คือสูงราว 2 นิ้วและกว้างราว 1.2 นิ้ว โดยกำหนดให้มีเอกลักษณ์กว่ารุ่นอื่นตรงที่รูปเหมือนหลวงพ่อนั้นจะไม่ใช่หน้าตรงเหมือนรุ่นก่อนๆ แต่จะใช้รูปเหมือนหันข้างของหลวงพ่อแทน สัณฐานรูปทรงเหรียญเป็นเหรียญไข่หูในตัวขนาดอย่างที่บอกไว้ข้างต้น เว้นแต่บล็อกไข่ยาวที่จะมีความยาวกว่าบล็อกอื่นคือยาวราว 2.2 นิ้ว และกว้างราว 1 นิ้ว แต่ทั้ง 4 บล็อกล้วนมีลักษณะโดยรวมเหมือนกัน คือเรื่องการสร้างเหรียญรุ่นนี้คงต้องย้อนกลับไปในปี 2513 เมื่อคราวหลวงพ่ออายุครบ 80 ปี ในวันที่ 13 กันยายน 2513 ซึ่งถือว่าเป็นแซยิดครั้งหนึ่งเช่นกัน ทางกรรมการวัดได้ขออนุญาตหลวงพ่อจัดสร้างพระขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อฉลองวาระนั้นไว้เป็นที่ระลึก โดยหลวงพ่อท่านได้อนุญาตจัดสร้างออกมากเป็น 2 แบบ คือพระกริ่งชุดหนึ่งและเหรียญปั๊มรูปเหมือนอีกชุดหนึ่ง โดยพระกริ่งนั้นคือกริ่งพันตึงทอง ที่ผมเคยกล่าวไว้ในเรื่องคนหล่อแห่งดอนยายหอมไปแล้ว จึงไม่ขอกล่าวถึงในที่นี้อีก โดยส่วนเหรียญปั๊มนั้นได้ตัดสินใจให้สร้างมาเป็นเหรียญรูปไข่ขนาดกำลังงาม คือสูงราว 2 นิ้วและกว้างราว 1.2 นิ้ว โดยกำหนดให้มีเอกลักษณ์กว่ารุ่นอื่นตรงที่รูปเหมือนหลวงพ่อนั้นจะไม่ใช่หน้าตรงเหมือนรุ่นก่อนๆ แต่จะใช้รูปเหมือนหันข้างของหลวงพ่อแทน สัณฐานรูปทรงเหรียญเป็นเหรียญไข่หูในตัวขนาดอย่างที่บอกไว้ข้างต้น เว้นแต่บล็อกไข่ยาวที่จะมีความยาวกว่าบล็อกอื่นคือยาวราว 2.2 นิ้ว และกว้างราว 1 นิ้ว แต่ทั้ง 4 บล็อกล้วนมีลักษณะโดยรวมเหมือนกัน คือทรงไข่ ด้านหน้าเส้นขอบใหญ่และหน้า มีตัวหนังสือคำว่า หลวงพ่อเงิน ๘๐ อยู่ด้านล่างประกบด้วยกนกเปลวเพลิง ด้านบนมีชุดยันต์ขอมอ่านว่า อะ สัง วิ สุ โร อุ สะ พุ ภะ โดยนี่คือคาถามงคลเก้าที่ย่อเอามาแล้ว ดังนั้นจึงไม่แปลกที่หลวงพ่อจะเป็นคนตั้งให้ชื่อว่าเหรียญพันตำลึงทองนั่นเอง ในส่วนตรงกลางจะมีรูปหลวงพ่อหันข้างอยู่กลางเหรียญ พื้นเหรียญเรียบเว้นแต่จะมีเส้นเสี้ยนของบล็อกเท่านั้น ส่วนด้านหลัง จะมีชุดยันต์ นะ ทรหด อยู่ตรงกลาง ด้านล่างมีหนังสือแถวตรงว่าพระราชธรรมาภรณ์และล่างสุดเป็นหนังสือแถวโค้ง 20 มีนาคม 2513 คือวันที่ปลุกเสกเหรียญรุ่นนี้นั่นเอง ในส่วนของพื้นด้านหลังจะมีจุดไข่ปลาจำนวนมาก นอกจากนี้เอกลักษณ์ด้านหลังของพระรุ่นนี้จะมียันต์แบบเต็มและขาด คือบริเวณท้องยันต์นะทรหดนั้นตื้นเลือนปั๊มไม่เต็ม ซึ่งเกิดจากแม่พิมพ์ชำรุดจากการปั๊ม ในส่วนของพิมพ์และบล็อกนั้นรุ่นนี้มีด้วยกัน 2 พิมพ์ 4 บล็อก คือ พิมพ์หน้าเดียวและสองหน้า ส่วนบล็อกคือบล็อกทองคำนิยมสุด บล็อกวงเดือนนิยม บล็อกสายฝนและบล็อกไข่ยาว โดยทั้งพิมพ์และบล็อกจะขอไล่อธิบายต่อไป ส่วนเนื้อหานั้นมีการสร้างออกมา 5 เนื้อ คือเนื้อทองคำ เนื้อเงิน เนื้อนวะโลหะ เนื้อทองแดงรมดำและทองแดงกระไหล่ทองขอบคุณข้อมูลเว็ปดอนยายหอมดอนคอมทรงไข่ ด้านหน้าเส้นขอบใหญ่และหน้า มีตัวหนังสือคำว่า หลวงพ่อเงิน ๘๐เรื่องการสร้างเหรียญรุ่นนี้คงต้องย้อนกลับไปในปี 2513 เมื่อคราวยุครบ 80 ปี ในวันที่ 13 กันยายน 2513 ซึ่งถือว่าเป็นแซยิดครั้งหนึ่งเช่นกัน ทางกรรมการวัดได้ขออนุญาตหลวงพ่อจัดสร้างพระขึ้นมาชุดหนึ่งเพื่อฉลองวาระนั้นไว้เป็นที่ระลึก โดยหลวงพ่อท่านได้อนุญาตจัดสร้างออกมากเป็น 2 แบบ คือพระกริ่งชุดหนึ่งและเหรียญปั๊มรูปเหมือนอีกชุดหนึ่ง โดยพระกริ่งนั้นคือกริ่งพันตึงทอง ที่ผมเคยกล่าวไว้ในเรื่องคนหล่อแห่งดอนยายหอมไปแล้ว จึงไม่ขอกล่าวถึงในที่นี้อีก โดยส่วนเหรียญปั๊มนั้นได้ตัดสินใจให้สร้างมาเป็นเหรียญรูปไข่ขนาดกำลังงาม คือสูงราว 2 นิ้วและกว้างราว 1.2 นิ้ว โดยกำหนดให้มีเอกลักษณ์กว่ารุ่นอื่นตรงที่รูปเหมือนหลวงพ่อนั้นจะไม่ใช่หน้าตรงเหมือนรุ่นก่อนๆ แต่จะใช้รูปเหมือนหันข้างของหลวงพ่อแทน สัณฐานรูปทรงเหรียญเป็นเหรียญไข่หูในตัวขนาดอย่างที่บอกไว้ข้างต้น เว้นแต่บล็อกไข่ยาวที่จะมีความยาวกว่าบล็อกอื่นคือยาวราว 2.2 นิ้ว และกว้างราว 1 นิ้ว แต่ทั้ง 4 บล็อกล้วนมีลักษณะโดยรวมเหมือนกัน คือทรงไข่ ด้านหน้าเส้นขอบใหญ่และหน้า มีตัวหนังสือคำว่า หลวงพ่อเงิน ๘๐ อยู่ด้านล่างประกบด้วยกนกเปลวเพลิง ด้านบนมีชุดยันต์ขอมอ่านว่า อะ สัง วิ สุ โร อุ สะ พุ ภะ โดยนี่คือคาถามงคลเก้าที่ย่อเอามาแล้ว ดังนั้นจึงไม่แปลกที่หลวงพ่อจะเป็นคนตั้งให้ชื่อว่าเหรียญพันตำลึงทองนั่นเอง ในส่วนตรงกลางจะมีรูปหลวงพ่อหันข้างอยู่กลางเหรียญ พื้นเหรียญเรียบเว้นแต่จะมีเส้นเสี้ยนของบล็อกเท่านั้น ส่วนด้านหลัง จะมีชุดยันต์ นะ ทรหด อยู่ตรงกลาง ด้านล่างมีหนังสือแถวตรงว่าพระราชธรรมาภรณ์และล่างสุดเป็นหนังสือแถวโค้ง 20 มีนาคม 2513 คือวันที่ปลุกเสกเหรียญรุ่นนี้นั่นเอง ในส่วนของพื้นด้านหลังจะมีจุดไข่ปลาจำนวนมาก นอกจากนี้เอกลักษณ์ด้านหลังของพระรุ่นนี้จะมียันต์แบบเต็มและขาด คือบริเวณท้องยันต์นะทรหดนั้นตื้นเลือนปั๊มไม่เต็ม ซึ่งเกิดจากแม่พิมพ์ชำรุดจากการปั๊ม ในส่วนของพิมพ์และบล็อกนั้นรุ่นนี้มีด้วยกัน 2 พิมพ์ 4 บล็อก คือ พิมพ์หน้าเดียวและสองหน้า ส่วนบล็อกคือบล็อกทองคำนิยมสุด บล็อกวงเดือนนิยม บล็อกสายฝนและบล็อกไข่ยาว โดยทั้งพิมพ์และบล็อกจะขอไล่อธิบายต่อไป ส่วนเนื้อหานั้นมีการสร้างออกมา 5 เนื้อ คือเนื้อทองคำ เนื้อเงิน เนื้อนวะโลหะ เนื้อทองแดงรมดำและทองแดงกระไหล่ทองขอบคุณข้อมูลเว็ปดอนยายหอมดอนคอม อยู่ด้านล่างประกบด้วยกนกเปลวเพลิง ด้านบนมีชุดยันต์ขอมอ่านว่า อะ สัง วิ สุ โร อุ สะ พุ ภะ โดยนี่คือคาถามงคลเก้าที่ย่อเอามาแล้ว ดังนั้นจึงไม่แปลกที่หลวงพ่อจะเป็นคนตั้งให้ชื่อว่าเหรียญพันตำลึงทองนั่นเอง ในส่วนตรงกลางจะมีรูปหลวงพ่อหันข้างอยู่กลางเหรียญ พื้นเหรียญเรียบเว้นแต่จะมีเส้นเสี้ยนของบล็อกเท่านั้น ส่วนด้านหลัง จะมีชุดยันต์ นะ ทรหด อยู่ตรงกลาง ด้านล่างมีหนังสือแถวตรงว่าพระราชธรรมาภรณ์และล่างสุดเป็นหนังสือแถวโค้ง 20 มีนาคม 2513 คือวันที่ปลุกเสกเหรียญรุ่นนี้นั่นเอง ในส่วนของพื้นด้านหลังจะมีจุดไข่ปลาจำนวนมาก นอกจากนี้เอกลักษณ์ด้านหลังของพระรุ่นนี้จะมียันต์แบบเต็มและขาด คือบริเวณท้องยันต์นะทรหดนั้นตื้นเลือนปั๊มไม่เต็ม ซึ่งเกิดจากแม่พิมพ์ชำรุดจากการปั๊ม ในส่วนของพิมพ์และบล็อกนั้นรุ่นนี้มีด้วยกัน 2 พิมพ์ 4 บล็อก คือ พิมพ์หน้าเดียวและสองหน้า ส่วนบล็อกคือบล็อกทองคำนิยมสุด บล็อกวงเดือนนิยม บล็อกสายฝนและบล็อกไข่ยาว โดยทั้งพิมพ์และบล็อกจะขอไล่อธิบายต่อไป ส่วนเนื้อหานั้นมีการสร้างออกมา 5 เนื้อ คือเนื้อทองคำ เนื้อเงิน เนื้อนวะโลหะ เนื้อทองแดงรมดำและทองแดงกระไหล่ทองขอบคุณข้อมูลเว็ปดอนยายหอมดอนคอมอะกว้างราว 1 นิ้ว แต่ทั้ง 4 บล็อกล้วนมีลักษณะโดยรวมเหมือนกัน คือทรงไข่ ด้านหน้าเส้นขอบใหญ่และหน้า มีตัวหนังสือคำว่า หลวงพ่อเงิน ๘๐ อยู่ด้านล่างประกบด้วยกนกเปลวเพลิง ด้านบนมีชุดยันต์ขอมอ่านว่า อะ สัง วิ สุ โร อุ สะ พุ ภะ โดยนี่คือคาถามงคลเก้าที่ย่อเอามาแล้ว ดังนั้นจึงไม่แปลกที่หลวงพ่อจะเป็นคนตั้งให้ชื่อว่าเหรียญพันตำลึงทองนั่นเอง ในส่วนตรงกลางจะมีรูปหลวงพ่อหันข้างอยู่กลางเหรียญ พื้นเหรียญเรียบเว้นแต่จะมีเส้นเสี้ยนของบล็อกเท่านั้น ส่วนด้านหลัง จะมีชุดยันต์ นะ ทรหด อยู่ตรงกลาง ด้านล่างมีหนังสือแถวตรงว่าพระราชธรรมาภรณ์และล่างสุดเป็นหนังสือแถวโค้ง 20 มีนาคม 2513 คือวันที่ปลุกเสกเหรียญรุ่นนี้นั่นเอง ในส่วนของพื้นด้านหลังจะมีจุดไข่ปลาจำนวนมาก นอกจากนี้เอกลักษณ์ด้านหลังของพระรุ่นนี้จะมียันต์แบบเต็มและขาด คือบริเวณท้องยันต์นะทรหดนั้นตื้นเลือนปั๊มไม่เต็ม ซึ่งเกิดจากแม่พิมพ์ชำรุดจากการปั๊ม ในส่วนของพิมพ์และบล็อกนั้นรุ่นนี้มีด้วยกัน 2 พิมพ์ 4 บล็อก คือ พิมพ์หน้าเดียวและสองหน้า ส่วนบล็อกคือบล็อกทองคำนิยมสุด บล็อกวงเดือนนิยม บล็อกสายฝนและบล็อกไข่ยาว โดยทั้งพิมพ์และบล็อกจะขอไล่อธิบายต่อไป ส่วนเนื้อหานั้นมีการสร้างออกมา 5 เนื้อ คือเนื้อทองคำ เนื้อเงิน เนื้อนวะโลหะ เนื้อทองแดงรมดำและทองแดงกระไหล่ทองขอบคุณข้อมูลเว็ปดอนยายหอมดอนคอม
ชัวร์พระ.คอมwww.surepra.com