Talcum powder แป้งทัลก์ แป้งทัลคัม |
฿1 |
ชื่อผู้ประกาศ : อัศวิน เบอร์โทรศัพท์ : 034854888 โทรศัพท์มือถือ : 0800160016 ที่อยู่ : 36/5 ม.9 ต.นาดี อ.เมืองสมุทรสาคร |
ทัลคัม, Talcum, แมกนีเซียมซิลิเกต,
Magnesium silicate
Talc มีโครงสร้าง TOT เหมือนพวก Montmorillonite แต่ Al+3 ใน Octahedral sheet ถูกแทนที่ด้วย Mg+2 (Brucite sheet) แรงยึดกันระหว่างออกซิเจนกับออกซิเจนของแร่ละชั้นไม่แข็งแรงจึงเป็นเหตุให้เกิดรอยแตกตามแนวตั้งฉากกับแกน C ได้ง่าย และเป็นเหตุทำให้แร่นี้มีเนื้อแร่อ่อนนิ่ม ส่วนประกอบทางเคมีตามทฤษฎี คือ 63.5% SiO2, 31.7% MgO และ4.8%H2O , Talc แร่นี้มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการจึงใช้เป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมเซรามิกส์หลายชนิด คือ
1. ใช้เป็นส่วนผสมส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมกระเบื้องกรุฝาผนัง
เนื่องจากแร่นี้มีคุณสมบัติป้องกันการเกิดการรานตัว (crazing) ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการขยายตัวเมื่อชื้น
2. ใช้เป็นส่วนผสมเนื้อดินปั้นภาชนะที่ใช้สำหรับการปรุงอาหาร
เนื่องจากแร่นี้มีคุณสมบัติต้านทานการเกิดการช๊อค เนื่องจากความร้อน (thermal
shock) นอกจากนี้คุณสมบัติที่เป็นประโยชน์อีกอันหนึ่งก็คือ
เนื้อแร่นี้ไม่แข็งมากนักและเป็นมันลื่น แบบโลหะที่ใช้ในการขึ้นรูป
การใช้งานในอุตสาหกรรมเซรามิก
กระเบื้องเซรามิก
มีการเติมทัลคัมลงไปเพื่อช่วยควบคุมค่า C.O.E ของเนื้อกระเบื้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระเบื้องที่เผาที่อุณหภูมิต่ำ เพื่อให้เหมาะกับ C.O.E ของเคลือบ โดยจะช่วยป้องกันการรานตัว (delay crazing) เนื่องจากการขยายตัวเมื่อถูกความชื้น การเติมทัลคัมลงไปจะช่วยเพิ่มความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากความร้อน (Thermal shock resistance) สำหรับกระเบื้องบุผนัง การเติมทัลคัมลงไปแทนที่พวกคาร์บอเนตบางส่วนจะช่วยให้การเผาเร็วขึ้นทั้งใน ช่วงการเผาและช่วงการเย็นตัวสำหรับกระเบื้องที่มี %
การดูดซึมน้ำต่ำ (vitrified tile) การเติมทัลคัมลงไปในปริมาณไม่มากนักจะช่วยลดอุณหภูมิในการเผาลง รวมทั้งลดเวลาในการเผาลงด้วย เนื่องจากทัลคัมจะไปช่วยลดจุดยูเทคทิก (eutectic point) ของเฟสระหว่าง Al2O3-SiO2 ทำให้เกิด liquid phase sintering ได้ดีขึ้น การเกิดแก้วในเนื้อกระเบื้องจะเกิดได้เร็วขึ้นที่อุณหภูมิต่ำลงสุขภัณฑ์และพวกของใช้บนโต๊ะอาหาร
พวก vitreous china จะเติมทัลคัมลงไปเล็กน้อยเพื่อช่วยในเรื่องthermal
shock resistance และสำหรับในเคลือบ ทัลคัมจะเป็นแหล่งที่ให้ MgO
และ SiO2
ได้เป็นอย่างดีเหมาะสำหรับทำเคลือบทั้งผิวมันและผิวด้าน ขึ้นกับปริมาณที่เติมลงไป
นอกจากนี้ยังมีการใช้ ทัลคัมสำหรับทาแบบปลาสเตอร์เพื่อที่จะช่วยให้การแกะแบบง่ายขึ้นด้วย
อิฐ (Brick)
การเติมทัลคัมลงไปเล็กน้อยจะช่วยปรับปรุงการรีดของชิ้นงานได้ดีขึ้น เนื่องจากทัลคัมจะเป็นตัวหล่อลื่น (เนื่องจากโครงสร้างที่มีการ slip ได้ง่าย) ทำให้ผิวของอิฐที่รีดออกมาเรียบขึ้น และสำหรับอิฐแบบกลวง (Hollow brick) ที่ต้องมีแบบรีดที่มีรูการเติมทัลคัมลงไปในเนื้อดินเล็กน้อยจะช่วยทำให้ประสิทธิภาพในการรีดดีขึ้น
แต่ไม่ควรเติมลงไปมากเนื่องจากทัลคัมจะมีปัญหาการขยายตัวหลังรีด
และการแห้งตัวที่ช้า ซึ่งจะทำให้อิฐแตกร้าวในระหว่างอบแห้งได้การใช้งานในอุตสาหกรรมอื่นๆ
-
ทัลคัมเป็นตัว filler กระดาษ และพลาสติก-
เป็นผงดับกลิ่นสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง-
เป็นส่วนผสมในแป้งทาตัว-
เป็นตัวหล่อลื่นเพื่อช่วยยืดอายุแบบในอุตสาหกรรมโลหะ - ใช้เป็นส่วนผสมในยาฆ่าแมลง
คุณสมบัติที่ต้องคำนึงถึงสำหรับการใช้งานสำหรับอุตสาหกรรมเซรามิก
สำหรับเนื้อดิน
ดูค่าวิเคราะห์ทางเคมีเพื่อดู
%ออกไซด์ที่มีขนาดของอนุภาคมลทินที่ปนเปื้อนเข้ามามีได้บ้าง มักเป็นพวก Fe2O3, TiO2แต่ถ้าเป็นพวกคาร์บอเนต จำเป็นต้องควบคุมอย่างมาก ถ้าใช้สำหรับผลิตภัณฑ์เนื้อวิเทรียส
โดยเฉพาะพวกที่เผาเร็วหรือทำการเผาครั้งเดียวเช่นพวกกระเบื้องเซรามิกสำหรับเคลือบ
ดูค่า chemical analysis ขนาดของอนุภาคและการกระจายตัวของอนุภาค
(particle size distribution)
มลทินต้องน้อยมาก โดยเฉพาะ Fe2O3
ใส่ในสูตรสีเคลือบแล้วทำการเผาเพื่อดูผิวหน้าและดูเฉดสีสำหรับสีแดง Maroon,
สีดำ
จะเห็นได้ว่าทัลคัมเป็นวัตถุดิบที่ใช้ประโยชน์ได้มากสำหับอุตสาหกรรมเซรามิก ซึ่งในการนำไปใช้งานนั้นควรคำนึงถึงจุดประสงค์ในการใช้งาน
ทัลคัมช่วยเพิ่มน้ำหนัก
ใช้ผสมในน้ำยาเรซิ่นเพื่อเพิ่มน้ำหนักหรือเพิ่มความหนา
และสามารถทำเป็นสีโป๊วได้ (ช่วยลดต้นทุนนะค่ะ
เหมาะสำหรับโรงงานเรซิ่นค่ะ)ใช้ผสมในน้ำยาเรซินเพื่อเพิ่มน้ำหนักหรือเพิ่มความหนา
และสามารถทำเป็นสีโป๊วได้ (เรซินโป๊ว) นำแป้งทัลคัมผสมกับน้ำยาเรซิน
โดยค่อยๆใส่แล้วกวนให้เข้ากันให้ทั่ว ปริมาณที่ใช้
สามารถใส่ได้ตามความหนืดที่ต้องการ เช่น ถ้าต้องการเพิ่มปริมาณเนื้อและน้ำหนัก
เพื่อใช้ทาด้านหลังของชิ้นงานเพื่อกลบรอยใยแก้ว ใช้อัตราส่วนผสมปริมาณ น้ำยาเรซิน
= 100 : แป้งทัลคัม = 100 (โดยน้ำหนัก)กลุ่มพลาสติกวิศวกรรม ที่ใส่สารเสริมเพื่อเพิ่มคุณสมบัติพิเศษ
เช่น FIBER GLASS, TALCUM, EPDM และอื่นๆ ซึ่งใช้กันอย่างกว้างขวาง ในวงการอุตสาหกรรมหลากหลายประเภทสำหรับเคลือบแบบเผาเร็วครั้งเดียว (Single fast firing) ในอุตสาหกรรมกระเบื้องก็มีการเติมทัลคัมลงไปในเคลือบด้วยเพื่อให้เกิดผิว
ด้านที่สวยงาม แต่ต้องระวังในการเผาช่วงอุณหภูมิ 900 ?C เนื่องจากทัลคัมจะมีการสลายน้ำในโครงสร้างผลึกในช่วงนี้ซึ่งจะทำให้เกิด
ปัญหารูเข็มที่ผิวเคลือบได้
วัสดุทนไฟ (Refractory)
มักจะใช้ทัลคัมสำหรับผลิตภัณฑ์ Kiln furniture ที่เป็นเนื้อคอร์เดียไรท์ (2MgO 2Al2O3 5SiO2) เนื่องจากคอร์เดียไรท์เป็นสารที่มีสัมประสิทธิ์การขยายตัว เนื่องจากความร้อนต่ำมาก ประมาณ 1-2x10-6 ?C-1แต่คอร์เดียไรท์ที่เกิดขึ้นโดยตรงจากธรรมชาตินั้นมีได้น้อย และไม่ค่อยเสถียร
เนื่องจากอุณหภูมิที่เกิดคอร์เดียไรท์นั้นเป็นช่วงที่แคบมาก
การใช้ทัลคัมเพื่อเป็นแหล่งของ MgO กับ SiO2 และพวก Mullite จะสามารถผลิตเนื้อคอร์เดียไรท์ที่ใช้กับการผลิต Kiln furniture ที่ต้องการสมบัติด้าน Thermal shock resistance ที่ดี แต่การเติมทัลคัมลงไปก็จะทำให้ความทนไฟของ kiln furniture ลดต่ำลง จึงจำเป็นต้องหาจุดที่เหมาะสมสำหรับการผลิตด้วยทัลคัมช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมรถ
ซ่อม ไฟเบอร์รถยนต์อัตราส่วนของผงทัลคัม:เรซิ่น = 1:1 ค่อยๆ
ผสมผงทัลคัมลงในเรซิ่นทีละนิดแล้วคนให้เข้ากัน จะได้อัตราส่วนที่ต้องการ จากนั้นเติมตัวเร่งปฎิกริกยาลงไปแล้วคนให้เข้ากันอีก จากนั้นก็ลงมือโป๊วซ่อมรอยแตกรอยร้าวเลยครับ เพราะถ้าช้าไปมันก็จะแห้ง
ส่วนประกอบทางเคมีทางทฤษฎีมี 64%SiO2 31%MgO 5%H2O
แหล่งที่เกิดทัลคัม เป็นผลมาจากการเกิด Hydrothermal
ส่วนใหญ่มักจะเกิดร่วมกันกับโดโลไมท์และแมกนีไซท์บางครั้งก็เกิดร่วมกับพวก
หินอัคนีที่มีซิลิกาเป็นองค์ประกอบน้อยกว่า 45% (Ultrabasic rock) เช่นแร่โอลิวีน (Olivine), แอมฟิโบล(Amphibole),
คลอไรต์ (Chlorite), และเซอร์เพนทีน (Serpentine)
เช่นเดียวกับในแหล่งที่เกิดจากการถูกพัดพามาสะสมไว้
องค์ประกอบของแร่จะใกล้เคียงกันทั้งในแหล่งที่เป็นปฐมภูมิ (primary
deposit) และแหล่งที่เป็นแหล่งทุติยภูมิ (secondary or
sedimentary deposit) แหล่งทัลคัมที่สำคัญในโลก มีอยู่ที่ อิตาลี
ออสเตรีย สเปน ฝรั่งเศส อเมริกา และจีน ส่วนแหล่งในเมืองไทยนั้นส่วนใหญ่เป็นทัลคัมที่มีมลทินปนอยู่ในปริมาณสูง ไม่เหมาะสำหรับใช้ในสีเคลือบแหล่งที่สำคัญอยู่ที่จ.อุตรดิตถ์
- มีค่า C.O.E (สัมประสิทธิ์การขยายตัวจากความร้อน) สูงประมาณ 270x10-7 ?C-1 ที่ 1020 ?C
- ความถ่วงจำเพาะ ~ 2.7-2.8
- มีการขยายตัวหลังจากอบแห้ง
- สามารถบดให้เป็นผงละเอียดได้ง่าย
- เมื่อใส่ในเคลือบหรือในน้ำดินจะทำให้น้ำดินหรือเคลือบเกิด thixotropy เนื่องจากการบวมน้ำ (swelling) ของ T-O-T layer ที่มีน้ำเข้าไปแทรกอยู่ระหว่างชั้น
- จาก D.T.A curve เกิดปฏิกิริยาดูดความร้อนที่ 900-1000 ?C เนื่องจากเกิดการสลายตัวของน้ำในโครงสร้างผลึก (dehydroxylation)
ประโยชน์ของทัลคัม เช่น
ทำตัวหล่อกับเรซิ่น
อุตสาหกรรมเซรามิกส์
ใช้ผสมเรซิ่นเพื่อทำสีโป๊ว
ทำหินเทียม
อุตสาหกรรมพลาสติก
วัตถุดิบงานไฟเบอร์กลาส
อุตสาหกรรมสี
อุตสาหกรรมกระดาษ
อุตสาหกรรมยาง
อุตสาหกรรม ปุ๋ย
แร่นี้มีคุณสมบัติพิเศษหลายประการจึงใช้เป็นส่วนประกอบในอุตสาหกรรมเซรามิกส์หลายชนิด
คือ1. ใช้เป็นส่วนผสมส่วนใหญ่ในอุตสาหกรรมกระเบื้องกรุฝาผนัง เนื่องจากแร่นี้มีคุณสมบัติป้องกันการเกิดการรานตัว (crazing) ซึ่งเกิดขึ้นเนื่องจากการขยายตัวเมื่อชื้น2. ใช้เป็นส่วนผสมเนื้อดินปั้นภาชนะที่ใช้สำหรับการปรุงอาหาร เนื่องจากแร่นี้มีคุณสมบัติต้านทานการเกิดการช๊อค เนื่องจากความร้อน (thermal shock) นอกจากนี้คุณสมบัติที่เป็นประโยชน์อีกอันหนึ่งก็คือเนื้อแร่นี้ไม่แข็งมากนักและเป็นมันลื่น แบบโลหะที่ใช้ในการขึ้นรูป
โดยวิธีการอัดเนื้อดินปั้นที่มี Talc เป็นส่วนผสมจะมีอายุการใช้งานได้นานกว่าปกติ-การใช้งานในอุตสาหกรรมเซรามิก : กระเบื้องเซรามิก
มีการเติมทัลคัมลงไปเพื่อช่วยควบคุมค่า C.O.E ของเนื้อกระเบื้องโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระเบื้องที่เผาที่อุณหภูมิต่ำ เพื่อให้เหมาะกับ C.O.E ของเคลือบ โดยจะช่วยป้องกันการรานตัว (delay crazing) เนื่องจากการขยายตัวเมื่อถูกความชื้น การเติมทัลคัมลงไปจะช่วยเพิ่มความทนทานต่อการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากความร้อน (Thermal shock resistance) สำหรับกระเบื้องบุผนังการเติมทัลคัมลงไปแทนที่พวกคาร์บอเนตบางส่วนจะช่วยให้การเผาเร็วขึ้นทั้งใน
ช่วงการเผาและช่วงการเย็นตัว สำหรับกระเบื้องที่มี % การดูดซึมน้ำต่ำ (vitrified tile) การเติมทัลคัมลงไปในปริมาณไม่มากนักจะช่วยลดอุณหภูมิในการเผาลง รวมทั้งลดเวลาในการเผาลงด้วย เนื่องจากทัลคัมจะไปช่วยลดจุดยูเทคทิก (eutectic point) ของเฟสระหว่าง Al2O3-SiO2 ทำให้เกิด liquid phase sintering ได้ดีขึ้นการเกิดแก้วในเนื้อกระเบื้องจะเกิดได้เร็วขึ้นที่อุณหภูมิต่ำลง
-สุขภัณฑ์และพวกของใช้บนโต๊ะอาหาร: พวก vitreous china จะเติมทัลคัมลงไปเล็กน้อยเพื่อช่วยในเรื่อง thermal shock resistance และสำหรับในเคลือบ ทัลคัมจะเป็นแหล่งที่ให้ MgO และ SiO2 ได้เป็นอย่างดีเหมาะสำหรับทำเคลือบทั้งผิวมันและผิวด้าน ขึ้นกับปริมาณที่เติมลงไป โดยเฉพาะเคลือบผิวด้าน (Matt glaze) ที่มีส่วนผสมของ ทัลคัมจะให้พื้นผิวที่ดูแวววาวคล้ายผ้าไหม บางครั้งจึงเรียกว่า silk glaze หรือ Satin matt แต่ข้อจำกัดของการใช้ ทัลคัมในเคลือบก็คือ ปัญหาเรื่องการบวมน้ำ (swelling) ซึ่งจะทำให้คุณสมบัติการไหลตัวของเคลือบเปลี่ยนไปเมื่อเวลาเปลี่ยน ไป(Thixotropic) และจะทำให้เคลือบอืดตัวและทำการชุบเคลือบหรือการสเปรย์เคลือบได้ยาก -นอกจากนี้ยังมีการใช้
ทัลคัมสำหรับทาแบบปลาสเตอร์เพื่อที่จะช่วยให้การแกะแบบง่ายขึ้นด้วย-อิฐ (Brick) การเติมทัลคัมลงไปเล็กน้อยจะช่วยปรับปรุงการรีดของชิ้นงานได้ดีขึ้น เนื่องจากทัลคัมจะเป็นตัวหล่อลื่น (เนื่องจากโครงสร้างที่มีการ slip ได้ง่าย) ทำให้ผิวของอิฐที่รีดออกมาเรียบขึ้น และสำหรับอิฐแบบกลวง (Hollow brick) ที่ต้องมีแบบรีดที่มีรูการเติมทัลคัมลงไปในเนื้อดินเล็กน้อยจะช่วยทำให้ประสิทธิภาพในการรีดดีขึ้น
แต่ไม่ควรเติมลงไปมากเนื่องจากทัลคัมจะมีปัญหาการขยายตัวหลังรีด
และการแห้งตัวที่ช้า ซึ่งจะทำให้อิฐแตกร้าวในระหว่างอบแห้งได้
การใช้งานในอุตสาหกรรมอื่นๆ - ทัลคัมเป็นตัว filler กระดาษ และพลาสติก - เป็นผงดับกลิ่นสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง - เป็นส่วนผสมในแป้งทาตัว - เป็นตัวหล่อลื่นเพื่อช่วยยืดอายุแบบในอุตสาหกรรมโลหะ - ใช้เป็นส่วนผสมในยาฆ่าแมลง-ทัลคัมช่วยเพิ่มน้ำหนัก ใช้ผสมในน้ำยาเรซิ่นเพื่อเพิ่มน้ำหนักหรือเพิ่มความหนาและสามารถทำเป็นสีโป๊วได้ ใช้ผสมในน้ำยาเรซินเพื่อเพิ่มน้ำหนักหรือเพิ่มความหนา
และสามารถทำเป็นสีโป๊วได้ (เรซินโป๊ว) นำแป้งทัลคัมผสมกับน้ำยาเรซิน
โดยค่อยๆใส่แล้วกวนให้เข้ากันให้ทั่ว ปริมาณที่ใช้ สามารถใส่ได้ตามความหนืดที่ต้องการ
เช่น ถ้าต้องการเพิ่มปริมาณเนื้อและน้ำหนัก
เพื่อใช้ทาด้านหลังของชิ้นงานเพื่อกลบรอยใยแก้ว ใช้อัตราส่วนผสมปริมาณ น้ำยาเรซิน
= 100 : แป้งทัลคัม = 100 (โดยน้ำหนัก) กลุ่มพลาสติกวิศวกรรม ที่ใส่สารเสริมเพื่อเพิ่มคุณสมบัติพิเศษ เช่น FIBER GLASS, TALCUM, EPDM และอื่นๆ ซึ่งใช้กันอย่างกว้างขวาง ในวงการอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท สำหรับเคลือบแบบเผาเร็วครั้งเดียว (Single fast firing) ในอุตสาหกรรมกระเบื้องก็มีการเติมทัลคัมลงไปในเคลือบด้วยเพื่อให้เกิดผิว ด้านที่สวยงาม แต่ต้องระวังในการเผาช่วงอุณหภูมิ 900 ?C เนื่องจากทัลคัมจะมีการสลายน้ำในโครงสร้างผลึกในช่วงนี้ซึ่งจะทำให้เกิดปัญหารูเข็มที่ผิวเคลือบได้
ดังนั้นถ้าต้องการจะใช้ทัลคัมสำหรับสีเคลือบควรเป็นทัลคัมที่นำไปเผา (Calcine) แล้ว วัสดุทนไฟ (Refractory) มักจะใช้ทัลคัมสำหรับผลิตภัณฑ์ Kiln furniture ที่เป็นเนื้อคอร์เดียไรท์ (2MgO 2Al2O3 5SiO2) เนื่องจากคอร์เดียไรท์เป็นสารที่มีสัมประสิทธิ์การขยายตัว เนื่องจากความร้อนต่ำมาก ประมาณ 1-2x10-6 ?C-1 แต่คอร์เดียไรท์ที่เกิดขึ้นโดยตรงจากธรรมชาตินั้นมีได้น้อยและไม่ค่อยเสถียร เนื่องจากอุณหภูมิที่เกิดคอร์เดียไรท์นั้นเป็นช่วงที่แคบมาก
การใช้ทัลคัมเพื่อเป็นแหล่งของ MgO กับ SiO2 และพวก Mullite จะสามารถผลิตเนื้อคอร์เดียไรท์ที่ใช้กับการผลิต Kiln furniture ที่ต้องการสมบัติด้าน Thermal shock resistance ที่ดี แต่การเติมทัลคัมลงไปก็จะทำให้ความทนไฟของ kiln furniture ลดต่ำลง จึงจำเป็นต้องหาจุดที่เหมาะสมสำหรับการผลิตด้วย ทัลคัมช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมรถ ซ่อม ไฟเบอร์รถยนต์ อัตราส่วนของผงทัลคัม:เรซิ่น = 1:1 ค่อยๆผสมผงทัลคัมลงในเรซิ่นทีละนิดแล้วคนให้เข้ากัน จะได้อัตราส่วนที่ต้องการ
จากนั้นเติมตัวเร่งปฎิกิริยาลงไปแล้วคนให้เข้ากันอีก
จากนั้นก็ลงมือโป๊วซ่อมรอยแตกรอยร้าวเลย เพราะถ้าช้าไปมันก็จะแห้ง
การโป๊วก็เหมือนการโป๊วสีรถยนต์Talc (derived from Persian: ????? t?lk; Arabic: ???? talk) is a mineral composed of
hydrated magnesium silicate with the chemical formula H2Mg3(SiO3)4 or
Mg3Si4O10(OH)2. In loose form, it is the widely used substance known as talcum
powder. It occurs as foliated to fibrous masses, and in an exceptionally rare
crystal form. It has a perfect basal cleavage, and the folia are non-elastic,
although slightly flexible. It is the softest known mineral and listed as 1 on
the Mohs hardness scale. It can be easily scratched by a fingernail. It is also
sectile (can be cut with a knife). It has a specific gravity of 2.5?2.8, a
clear or dusty luster, and is translucent to opaque. Talc is not soluble in
water, but it is slightly soluble in dilute mineral acids. Its colour ranges
from white to grey or green and it has a distinctly greasy feel. Its streak is
white. Soapstone is a metamorphic rock composed predominantly of talc.Talc is used in many industries
such as paper making, plastic, paint and coatings, rubber, food, electric
cable, pharmaceuticals, cosmetics, ceramics, etc. A coarse grayish-green
high-talc rock is soapstone or steatite and has been used for stoves, sinks,
electrical switchboards, crayons, soap, etc. It is often used for surfaces of
lab counter tops and electrical switchboards because of its resistance to heat,
electricity and acids. Talc finds use as a cosmetic (talcum powder), as a
lubricant, and as a filler in paper manufacture. Talc is used in baby powder,
an astringent powder used for preventing rashes on the area covered by a
diaper. It is also often used in basketball to keep a player's hands dry. Most
tailor's chalk, or French chalk, is talc, as is the chalk often used for
welding or metalworking. Talc is also used as food additive or in
pharmaceutical products as a glidant. In medicine talc is used as a pleurodesis
agent to prevent recurrent pleural effusion or pneumothorax. In the European
Union the additive number is E553b. Talc is widely used in the ceramics
industry in both bodies and glazes. In low-fire artware bodies it imparts
whiteness and increases thermal expansion to resist crazing. In stonewares,
small percentages of talc are used to flux the body and therefore improve
strength and vitrification. It is a source of MgO flux in high temperature
glazes (to control melting temperature). It is also employed as a matting agent
in earthenware glazes and can be used to produce magnesia mattes at high
temperatures.Talcum powder is a cosmetic product made from finely ground talc,
an extremely soft mineral. One of its most common uses is in baby care, with
some parents using it to reduce rashes and irritation from diapers. It can also
be used on adults to prevent chafing and rashes, and some people have come up
for creative uses for this product, like sweeping it into the cracks of wooden
floors to prevent them from squeaking.This product's primary role is as a moisture absorber. By sucking
up moisture from the surrounding area, talcum powder keeps the skin dry. This
can reduce the risk of rashes and chafing from sweat, urine, and other bodily
secretions, and it also increases comfort in hot weather. Many babies find it
very comforting, since they do not have any control over when their diapers are
changed.Women sometimes use talcum powder to avoid chafing between the thighs
while wearing skirts, and athletes may also apply it before suiting up for
sports to help wick away sweat and increase comfort. It's is also used on some
bedbound people to prevent the development of rashes and sores, especially if
they have thick folds of skin which could harbor moisture.Magnesium silicate is a chemical compoundconsisting of magnesium, silicon, and oxygen. It exists in several forms, both
natural and manufactured. One of the most common forms of this compound is the
mineral talc, which can be found in deposits around the world and is used in
many industrial and everyday applications. Synthetic forms are also widely
used, especially as filters and additives in the food industry.Talc is formed in metamorphic geological processes when certainminerals interact with water and carbon dioxide. The type of magnesium silicate
that constitutes talc is therefore said to be hydrated ? that is, it contains
water in its chemical composition. Talc appears as a white crystal or powder
and is the softest mineral known. A common application of magnesium silicate in
its talc form is as talcum powder. This substance is used to make baby powder
as well as the chalk powder used by athletes, such as gymnasts, to dry their
hands for better grip. Talc can also be found in some types of chalk, ceramics,
cosmetics, paint, and food products. In table salt, for example, talc is
sometimes added to prevent caking. Most regulatory bodies consider talc to be a
safe substance in small concentrations, although inhalation or consumption of
larger concentrations can cause lung inflammation and other health problems.
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
ฝ่ายขายThai Poly Chemicals Co., Ltd.
บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด
ที่อยู่36/5 ม.9 แขวง/ตำบลนาดี เขต/อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร รหัสไปรษณีย์74000
Tel.: 034854888,
034496284
Fax.: 034854899,
034496285
Mobile: 0824504888,
0800160016
Website :
www.thaipolychemicals.comEmail1 : thaipolychemicals@hotmail.com
Email2 : info@thaipolychemicals.com
ทัลคัมแป้งทัลก์magnesiumsilicatetalcumแป้งทัลคัมpowderทาวคัมtalcแมกนีเซียมซิลิเกต