กรดแอซีติก, กรดแอซิติก, กรดอะซิติก, แอซิติกแอซิด, อะซิติกแอซิด, กรดเอทาโนอิก

฿1
ชื่อผู้ประกาศ : ไทยโพลีเคมิคอล

เบอร์โทรศัพท์ : 034854888, 034496284

โทรศัพท์มือถือ : 0800160016

ที่อยู่ : 36/5 ม.9 ต.นาดี อ.เมืองสมุทรสาคร จ.สมุทรสาคร 74000

รายละเอียดสินค้า
นำเข้าและจำหน่าย กรดแอซีติก, กรดแอซิติก, กรดอะซิติก, แอซิติกแอซิด, อะซิติกแอซิด, กรดเอทาโนอิก สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายขาย บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด โทรศัพท์ 034854888, 034496284 มือถือ 0824504888, 0800160016 โทรสาร 034854899, 034496285 

กรดอะซิติก, อะซิติกแอซิด, Acetic Acid

กรดน้ำส้ม หรือ กรดแอซีติก (อังกฤษ: acetic acid) เป็นสารประกอบเคมีอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในน้ำส้มสายชู

(ไม่ใช่พืชตระกูลส้มซึ่งให้กรดซิตริก) มีรสเปรี้ยวและกลิ่นฉุน

กรดแอซีติกแข็งตัวที่อุณหภูมิต่ำกว่า 16.7 ?C มีลักษณะเป็นผลึกใส

กรดชนิดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ไอของกรดสามารถทำให้ตาและจมูกระคายเคือง

แต่ก็ยังมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนหากละลายน้ำ ซึ่งมีประโยชน์มากในการขจัดตะกรันในท่อน้ำ

ในด้านอุตสาหกรรมอาหาร

กรดแอซีติกใช้เป็นวัตถุเจือปนอาหารเพื่อควบคุมความเป็นกรดภายใต้รหัส
E260 กรดแอซีติก (acetic acid) หรือกรดน้ำส้ม เป็นกรดอินทรีย์ (organic acid) ประเภท กรดคาร์บอกซิลิก (carboxylic acid) มีสูตร CH3COOH กรดแอซีติกอาจเกิดจากกระบวนการหมัก (fermentation) เอทิลแอลกอฮอล์ ด้วยแบคทีเรียแอซีโตแบคเตอร์ (Acetobacter) หรือจากการสังเคราะห์ทางเคมี กรดแอซีติกเจือจาง ความเข้มข้น 4-5 เปอร์เซ็นต์ เรียกว่าน้ำส้มสายชู (vinegar) การใช้ในอาหาร กรดแอซีติก ใช้เพื่อปรุงแต่งกลิ่นรสของอาหาร หรือ เป็นวัตถุเจือปนอาหาร (food additive) Acidity regulator เพื่อการปรับให้อาหารเป็นกรด เรียกว่า อาหารปรับกรด (acidified food) เป็นสารกันเสีย (preservative) โดยควบคุมการเจริญของจุลินทรีย์

กรดอะซิติก (C2H4O2) เป็นของเหลวใสไม่มีสี มีกลิ่นฉุน แสบจมูก ระเหยได้ น้ำหนักโมเลกุล 60.05 จุดเดือด 118 องศาเซลเซียส จุดเยือกแข็งที่ 17 องศาเซลเซียส ความถ่วงจำเพาะ 1.05 ความดันไอ 11 มม.ของปรอทที่ 20 องศาเซลเซียส ละลายน้ำได้ดี มีความเสถียร กรดอะซิติกบริสุทธิ์ เรียกว่า กรดน้ำส้มล้วน หรือกรดกลาเซียอะซิติก (Glacial acetic acid) ซึ่งมีลักษณะเป็นผลึกที่อุณหภูมิต่ำกว่า 17 องศาเซลเซียส การเจอจางกรดด้วยน้ำ ได้น้ำส้มสายชูสำหรับปรุงอาหาร ซึ่งอาจได้จากการหมัก

มีกลิ่นหอมและไม่มีอันตรายจากสารปนเปื้อน

ในสมัยโบราณมีการนำกรดนี้มาใช้โดยหมักจากไวน์หรือเหล้าต่อจนมีรสเปรี้ยว

ได้น้ำส้มสายชู (Vinegar) ซึ่งมีความเข้มข้นประมาณร้อยละ 3 ปัจจุบันการผลิตกรดอะซิติกใช้การสังเคราะห์ทางเคมีโดยการออกซิไดซ์อะเซตาลดีไฮด์ (Acetaldehyde) หรือใช้คาร์บอนมอนอกไซด์ทำปฏิกิริยากับไฮโดรเจนได้เมธานอล

แล้วทำปฏิกิริยากับคาร์บอนมอนอกไซด์ อีกครั้งหนึ่งจนได้กรดอะซิติก กรดอะซิติก

ใช้ในการผลิตพลาสติก อุตสาหกรรม สีย้อมผ้า ยาฆ่าแมลง ยาแอสไพริน เส้นใยสังเคราะห์

สารโพลีเมอร์ และกาว เป็นต้น อันตรายต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม กรดอะซิติก

มีความรุนแรงน้อยกว่ากรดอนินทรีย์

กรดอะซิติกเป็นกรดริดิวซ์อย่างอ่อน 

เป็นสารประกอบเคมีอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในน้ำส้มสายชู

มีรสเปรี้ยวและกลิ่นฉุน กรดอะซีติกแข็งตัวที่อุณหภูมิต่ำกว่า 16.7 ?C มีลักษณะเป็นผลึกใส ละลายน้ำได้ดี กรดชนิดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน

ไอของกรดสามารถทำให้ตาและจมูกระคายเคือง แต่ก็ยังมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนหากละลายน้ำ

ซึ่งมีประโยชน์มากในการขจัดตะกรันในท่อน้ำ ในด้านอุตสาหกรรมอาหาร

กรดอะซีติกใช้เป็นวัตถุเจือปนอาหารเพื่อควบคุมความเป็นกรด กรดอะซิติกเรียกเต็มว่า

กรดกลาเซียอะซิติก (
Glacial acetic acid) ก็คือกรดน้ำส้ม

ซึ่งเป็นตัวที่ทำให้เกิดรสเปรี้ยวในการปรุงรส

และเครื่องปรุงรสหลายอย่างใช้น้ำส้มสายชู ความเข้มข้นกรดที่ขายในตลาดประมาณ
99% โดยน้ำหนัก 

อะเซติก แอนไฮดรายด์ (Acetic anhydride:  (CH3CO)2O)

อะเซติก แอนไฮดรายด์ เป็นของเหลวไสไม่มีสี มีจุดเดือด 139.8 ?C จุดหลอมเหลว -73.1 ?C ความหนาแน่น 1.082 g/cm3 ละลายน้ำได้ดี  เป็นสารที่ใช้ในโรงงานผลิตพลาสติก

และยังใช้เป็นส่วนประกอบในน้ำส้มสายชู สารกลุ่มแอนไฮดรายด์ส่วนใหญ่ใช้เป็นสารตั้งต้นเพื่อทำปฏิกิริยาให้สารประกอบอื่น  เช่น

เป็นสารตั้งต้นเมื่อทำปฏิกิริยากับสารสกัดจากฝิ่นจะได้เฮโรอีน

จึงถูกกำหนดเป็นสารถูกควบคุมตั้งแต่อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการลักลอบค้ายาเสพติดและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท

ค.ศ.1988  สำหรับประเทศไทยการควบคุมดูแลอยู่ภายใต้ พรบ.ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522  อะเซติก

แอนไฮดรายด์มีฤทธิ์กัดกร่อนเหมือนกรด

เป็นอันตรายเมื่อสูดดมและกลืนกินทำให้เกิดแผลไหม้ 

ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ 

จึงควรเก็บให้ห่างจากความร้อนและเปลวไฟ

สามารถจะกัดกร่อนไม่ว่าจะเป็นสเตนเลสชนิด
304 หรือ 316 ก็ตาม ดังนั้นสารเคมีนี้จึงเป็นอันตรายต่อเหล็กกล้าไรสนิมในสภาพที่มีน้ำปนด้วยหรือในภาวะที่มีคลอไรด์ ความเสี่ยงด้านกัดกร่อนแบบจุดอาจลดลงได้หากใช้เกรดออสเทนนิติกชนิด N08904 (904L, 1.4539) หรือ เกรดที่มีโมลิบดีนัมผสมถึง 6 % อย่าง S32654 S31254 ซึ่งจะทนภาวะที่รุนแรงนี้ได้

ชื่อ acetic acid อะแซติกแอซิด

ชื่อพ้อง ethanoic acid, ethylic acid, methanecarboxylic acid, vinegar acid, glacial acetic acid

(สารละลาย acetic acid ที่มี acetic acid มากกว่า 10% แต่ไม่มากกว่า 80%)

CH3COOH  กรดน้ำส้ม หรือ กรดแอซีติก : acetic acid เป็นสารประกอบเคมีอินทรีย์ชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในน้ำส้มสายชู

คือให้รสเปรี้ยวและกลิ่นฉุน กรดแอซีติก ซึ่งมีประโยชน์มากในการขจัดตะกรันในท่อน้ำ

ในด้านอุตสาหกรรมอาหาร กรดแอซีติกใช้เป็นวัตถุเจือปนอาหารเพื่อควบคุมความเป็นกรด

น้ำส้มสายชู เป็นเครื่องปรุงรสอาหาร (seasoning) ที่เรารู้จักและใช้กันอย่างแพร่หลายในชีวิตประจำวัน คำว่า vinegar มาจากคำว่า vin aigre เป็นภาษาฝรั่งเศษ แปลว่า ไวน์เปรี้ยวเพราะ น้ำส้มสายชู ในสมัยเริ่มต้น ได้จากการหมัก (fermentation) เอทธิลแอลกอฮอล์ในไวน์ด้วยแบคทีเรียในกลุ่ม Acetobacter และ Gluconobacterให้ได้กรดน้ำส้ม (actetic acid) ซึ่งมีรสเปรี้ยว กรดน้ำส้ม (Acetic acid) มีคุณสมบัติที่ให้รสเปรี้ยวเพราะไม่มีพิษต่อร่างกาย ใช้หมักดองถนอมอาหาร (food preservation) ด้วยการดอง (pickling) และใช้ปรับอาหารให้เป็นกรด (acidification)

ประเภทของน้ำส้มสายชู

น้ำส้มสายชูจัดเป็นอาหารที่กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 204) พ.ศ.2543 เรื่อง น้ำส้มสายชู ประเภทของน้ำส้มสายชูนั้นแบ่งออกเป็น 3 ชนิด ได้แก่

1 . น้ำส้มสายชูหมัก คือน้ำส้มสายชูที่ได้จากการหมัก เมล็ดธัญพืชเช่น ข้าวข้าวโพด ผลไม้ เช่น สับปะรด แอ๊ปเปิ้ล หรือ น้ำตาลกากน้ำตาล (molass)

วัตถุดิบที่มี น้ำตาล (sugar) เช่น ผลไม้ต่างๆ เป็นอาหารของยีสต์ได้โดยตรง ส่วน วัตถุดิบที่มีสตาร์ซ (starch) เช่น ข้าวจะต้องเปลี่ยนเป็นโมเลกุลของน้ำตาลก่อน

การผลิตน้ำส้มสายชูหมัก เป็นการหมัก สองขั้นตอน คือ การหมักน้ำตาล ให้เกิดแอลกอฮอล์ (alcoholic fermentation) โดยใช้ยีสต์ (yeast) ตามด้วยการหมักแอลกอฮอล์ให้เกิดกรดอะซิกติก (acetic acid fermentation) ด้วยแบคทีเรียในกลุ่ม Acetobacter และ Gluconobacterในภาวะที่มีออกซิเจน

น้ำส้มสายชูที่หมัก จะใส ไม่มีตะกอน ยกเว้นตะกอนที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ

มีกลิ่นหอมตามกลิ่นของวัตถุดิบ มี รสชาติดี

มีรสหวานของน้ำตาลที่ตกค้างมีกลิ่นของวัตถุดิบที่ใช้ในการหมัก

ความเข้มข้นขึ้นอยู่กับ ชนิดและปริมาณน้ำตาลของวัตถุดิบที่ใช้ในการหมัก

และมีปริมาณกรดน้ำส้ม (acetic acid) ไม่น้อยกว่า 4%

2. น้ำส้มสายชูกลั่น เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำเอทธิลอัลกอฮอล์กลั่นเจือจาง (Dilute Distilled Alcohol) มาหมักกับเชื้อน้ำส้มสายชู หรือเมื่อหมักแล้วนำไปกลั่น (distillation) หรือได้จากการนำน้ำส้มสายชูหมักมากลั่น น้ำส้มสายชูกลั่นจะต้องมีลักษณะใส ไม่มีตะกอนและมีปริมาณกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4%

3. น้ำส้มสายชูเทียม เป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำเอากรดน้ำส้ม (Acetic acid) ซึ่งสังเคราะห์ขึ้นทางเคมี เป็นกรดอินทรีย์มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนมีความเข้มข้นประมาณ 95 % มาเจือจางจนได้ปริมาณกรด 4 - 7% ลักษณะใส ไม่มีสี กรดน้ำส้มที่นำมาเจือจางจะต้องมีความบริสุทธิ์สูงเหมาะสมที่จะนำมาเป็นอาหารได้และน้ำที่ใช้เจือจางต้องเหมาะสมที่จะใช้ดื่มได้

การควบคุมคุณภาพหรือมาตรฐานน้ำส้มสายชูน้ำส้มสายชูหมักหรือน้ำส้มสายชูกลั่น ต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดังต่อไปนี้

1. มีกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4 กรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ที่ 27 องศาเซลเซียส2. ตรวจพบสารปนเปื้อนได้ไม่เกินปริมาณกำหนด ดังต่อไปนี้ - สารหนู ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม - ตะกั่ว ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม - ทองแดงและสังกะสี ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม - เหล็ก ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม3. ไม่มีกรดน้ำส้มที่มิได้มาจากการผลิตน้ำส้มสายชูหมักหรือน้ำส้มสายชูกลั่น4. ไม่มีกรดกำมะถัน (Sulfuric acid) หรือกรดแร่อิสระอย่างอื่น5. ใสไม่มีตะกอน เว้นแต่น้ำส้มสายชูหมักตามธรรมชาติ6. ไม่มีหนอนน้ำส้ม (Vinegar Eel) 7. ใช้น้ำสะอาดเป็นส่วนผสม8. ให้ใช้วัตถุเจือปนอาหาร (Food Additive) ได้ ดังต่อไปนี้ - ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (sulfur dioxide) ไม่เกิน 70 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม - กรดแอล-แอสคอร์บิก (L- ascorbic acid) ไม่เกิน 400 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม9. มีแอลกอฮอล์ตกค้าง (Residual alcohol) ไม่เกิน 0.5 %10. การแต่งสี ให้ใช้น้ำตาลเคี่ยวไหม้หรือสีคาราเมล (caramel)

น้ำส้มสายชูเทียม ต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน ดังต่อไปนี้

1. มีกรดน้ำส้มไม่น้อยกว่า 4 กรัม และไม่เกิน 7 กรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ที่ 27 องศาเซลเซียส2. ตรวจพบสารปนเปื้อนได้ไม่เกินปริมาณที่กำหนด ดังต่อไปนี้- สารหนู ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม- ตะกั่ว ไม่เกิน 1 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม- ทองแดงและสังกะสี ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม- เหล็ก ไม่เกิน 10 มิลลิกรัม ต่อน้ำส้มสายชู 1 กิโลกรัม3. ใสไม่มีตะกอน4. ไม่มีกรดกำมะถันหรือกรดแร่อิสระอย่างอื่น5. ไม่ใช้สี6. ไม่มีการแต่งกลิ่นหรือรส7. ใช้น้ำสะอาดเป็นส่วนผสม

น้ำส้มสายชูปลอมได้จากนำกรดน้ำส้มชนิดเข้มข้น (Glacial acetic acid) หรือ "หัวน้ำส้ม" ซึ่งปกติจะใช้ในอุตสาหกรรมฟอกหนัง

สิ่งพิมพ์ สิ่งทอ มาเจือน้ำ

น้ำส้มดังกล่าวแม้ว่าจะเป็นกรดน้ำส้มแต่ไม่มีความบริสุทธิ์เพียงพอที่จะนำมาบริโภคได้

ไม่ได้มีวัตถุประสงค์ที่ใช้เป็นอาหาร มีโลหะหนัก หรือวัตถุเจือปนอื่น ๆ มีราคาถูก

มากเมื่อเทียบกับน้ำส้มสายชูที่เป็นอาหารได้ และ

หากปริมาณกรดน้ำส้มสูงเกินไปก็จะเกิดอันตรายต่อผู้บริโภค คือ

อาจทำให้เกิดอาการท้องร่วงอย่างรุนแรงเนื่องจากผนังลำไส้ไม่ดูดซึมอาหาร

รวมทั้งได้มีการนำเอากรดแร่อิสระบางอย่าง เช่น กรดกำมะถัน หรือ กรดซัลฟุริก (Sulphuric acid) ซึ่งเป็นกรดแก่มาเจือจางด้วยน้ำมาก ๆ แล้วบรรจุขวดขาย

นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่งเพราะกรดกำมะถันเป็นกรดที่มีสรรพคุณกัดกร่อนรุนแรงมาก

จะทำให้เกิดอันตรายต่อระบบทางเดินอาหารและตับ

น้ำส้มสายชูเหล่านี้จึงไม่ปลอดภัยที่จะนำมาบริโภค

Acetic acid /??si?t?k/ (systematically named ethanoic acid /?????no??k/) is an organic compound with the

chemical formula CH3COOH (also written as CH3CO2H or C2H4O2). It is a

colourless liquid that when undiluted is also called glacial acetic acid.

Acetic acid is the main component of vinegar (apart from water; vinegar is

roughly 8% acetic acid by volume), and has a distinctive sour taste and pungent

smell. Besides its production as household vinegar, it is mainly produced as a

precursor to polyvinylacetate and cellulose acetate. Although it is classified

as a weak acid, concentrated acetic acid is corrosive and attacks the skin.

Acetic

acid is one of the simplest carboxylic acids. It is an important chemical

reagent and industrial chemical, mainly used in the production of cellulose

acetate for photographic film and polyvinyl acetate for wood glue, as well as

synthetic fibers and fabrics. In households, diluted acetic acid is often used

in descaling agents. In the food industry, acetic acid is used under the food

additive code E260 as an acidity regulator and as a condiment. As a food

additive it is approved for usage in many countries, including Canada,[6] the

EU,[7] USA and Australia and New Zealand. The global demand of acetic acid is

around 6.5 million tonnes per year (Mt/a), of which approximately 1.5 Mt/a is met

by recycling; the remainder is manufactured from petrochemical feedstock. As a

chemical reagent, biological sources of acetic acid are of interest but

generally uncompetitive. Vinegar is dilute acetic acid, often produced by

fermentation and subsequent oxidation of ethanol.

The

trivial name acetic acid is the most commonly used and preferred IUPAC name.

The systematic name ethanoic acid, a valid IUPAC name, is constructed according

to the substitutive nomenclature. The name acetic acid derives from acetum, the

Latin word for vinegar, and is related to the word acid itself. Glacial acetic

acid is a trivial name for water-free (anhydrous) acetic acid. Similar to the

German name Eisessig (ice-vinegar), the name comes from the ice-like crystals

that form slightly below room temperature at 16.6 ?C (61.9 ?F) (the presence of

0.1% water lowers its melting point by 0.2 ?C). A common abbreviation for

acetic acid is AcOH, where Ac stands for the acetyl group CH3?C(=O)?. Acetate

(CH3COO?) is abbreviated AcO?. The Ac is not to be confused with the

abbreviation for the chemical element actinium.[12] To better reflect its

structure, acetic acid is often written as CH3?C(O)OH, CH3?C(=O)OH, CH3COOH,

and CH3CO2H. In the context of acid-base reactions, the abbreviation HAc is

sometimes used,  where Ac instead stands

for acetate. Acetate is the ion resulting from loss of H+ from acetic acid. The

name acetate can also refer to a salt containing this anion, or an ester of

acetic acid.

Solvent properties

Liquid

acetic acid is a hydrophilic (polar) protic solvent, similar to ethanol and

water. With a moderate relative static permittivity (dielectric constant) of

6.2, it dissolves not only polar compounds such as inorganic salts and sugars,

but also non-polar compounds such as oils and elements such as sulfur and

iodine. It readily mixes with other polar and non-polar solvents such as water,

chloroform, and hexane. With higher alkanes (starting with octane), acetic acid

is not completely miscible anymore, and its miscibility continues to decline

with longer n-alkanes. This dissolving property and miscibility of acetic acid

makes it a widely used industrial chemical, for example, as a solvent in the

production of dimethyl terephthalate.

Biochemistry

At

physiological pHs, acetic acid is usually fully ionized to acetate. In

biochemistry, acetate and acetic acid are equivalent. The acetyl group, derived

from acetic acid, is fundamental to all forms of life. When bound to coenzyme

A, it is central to the metabolism of carbohydrates and fats. Unlike

longer-chain carboxylic acids (the fatty acids), acetic acid does not occur in

natural triglycerides. However, the artificial triglyceride triacetin

(glycerine triacetate) is a common food additive and is found in cosmetics and

topical medicines. Acetic acid is produced and excreted by acetic acid

bacteria, notable ones being the Acetobacter genus and Clostridium

acetobutylicum. These bacteria are found universally in foodstuffs, water, and

soil, and acetic acid is produced naturally as fruits and other foods spoil.

Acetic acid is also a component of the vaginal lubrication of humans and other

primates, where it appears to serve as a mild antibacterial agent.

Uses

Acetic

acid is a chemical reagent for the production of chemical compounds. The largest

single use of acetic acid is in the production of vinyl acetate monomer,

closely followed by acetic anhydride and ester production. The volume of acetic

acid used in vinegar is comparatively small.

Vinyl acetate monomer

The

major use of acetic acid is for the production of vinyl acetate monomer (VAM).

In 2008, this application was estimated to consume one third of the world's

production of acetic acid. The reaction is of ethylene and acetic acid with

oxygen over a palladium catalyst, conducted in the gas phase.  2 H3C?COOH + 2 C2H4 + O2 ? 2

H3C?CO?O?CH=CH2 + 2 H2O Vinyl acetate can be polymerized to polyvinyl acetate

or to other polymers, which are components in paints and adhesives.

Ester production

The

major esters of acetic acid are commonly used solvents for inks, paints and

coatings. The esters include ethyl acetate, n-butyl acetate, isobutyl acetate,

and propyl acetate. They are typically produced by catalyzed reaction from

acetic acid and the corresponding alcohol: 

H3C-COOH + HO-R ? H3C-CO-O-R +

H2O, (R = a general alkyl group) Most acetate esters, however, are produced

from acetaldehyde using the Tishchenko reaction. In addition, ether acetates

are used as solvents for nitrocellulose, acrylic lacquers, varnish removers,

and wood stains. First, glycol monoethers are produced from ethylene oxide or

propylene oxide with alcohol, which are then esterified with acetic acid. The

three major products are ethylene glycol monoethyl ether acetate (EEA),

ethylene glycol monobutyl ether acetate (EBA), and propylene glycol monomethyl

ether acetate (PMA, more commonly known as PGMEA in semiconductor manufacturing

processes, where it is used as a resist solvent). This application consumes

about 15% to 20% of worldwide acetic acid. Ether acetates, for example EEA,

have been shown to be harmful to human reproduction.

Acetic anhydride

The

product of the condensation of two molecules of acetic acid is acetic

anhydride. The worldwide production of acetic anhydride is a major application,

and uses approximately 25% to 30% of the global production of acetic acid. The

main process involves dehydration of acetic acid to give ketene at 700-750 ?C.

Ketene is thereafter reacted with acetic acid to obtain the anhydride:

 CH3CO2H ? CH2=C=O + H2O CH3CO2H + CH2=C=O ? (CH3CO)2O  Acetic anhydride is an acetylation agent. As

such, its major application is for cellulose acetate, a synthetic textile also

used for photographic film. Acetic anhydride is also a reagent for the

production of heroin and other compounds.

Use

as solvent. Glacial acetic acid is an excellent polar protic solvent, as noted

above. It is frequently used as a solvent for recrystallization to purify

organic compounds. Acetic acid is used as a solvent in the production of

terephthalic acid (TPA), the raw material for polyethylene terephthalate (PET).

In 2006, about 20% of acetic acid was used for TPA production. Acetic acid is

often used as a solvent for reactions involving carbocations, such as

Friedel-Crafts alkylation. For example, one stage in the commercial manufacture

of synthetic camphor involves a Wagner-Meerwein rearrangement of camphene to

isobornyl acetate; here acetic acid acts both as a solvent and as a nucleophile

to trap the rearranged carbocation. Glacial acetic acid is used in analytical

chemistry for the estimation of weakly alkaline substances such as organic

amides. Glacial acetic acid is a much weaker base than water, so the amide

behaves as a strong base in this medium. It then can be titrated using a

solution in glacial acetic acid of a very strong acid, such as perchloric acid.

Medical use

Diluted acetic acid is used in physical therapy using iontophoresis.

Vinegar

Main article: Vinegar

Vinegar

is typically 4-18% acetic acid by mass. Vinegar is used directly as a

condiment, and in the pickling of vegetables and other foods. Table vinegar

tends to be more diluted (4% to 8% acetic acid), while commercial food pickling

employs solutions that are more concentrated. The amount of acetic acid used as

vinegar on a worldwide scale is not large, but is by far the oldest and

best-known application.

Other derivatives

Organic or inorganic salts are produced from acetic acid, including:

 Sodium acetate, used in the textile industry and as a food preservative (E262).

 Copper(II) acetate, used as a pigment and a fungicide.

 Aluminium acetate and iron(II) acetate?used as mordants for dyes.

 Palladium(II) acetate, used as a catalyst for organic coupling reactions such as the Heck reaction.

 Silver acetate, used as a pesticide.

Substituted acetic acids produced include:

 Chloroacetic acid (monochloroacetic acid,

MCA), dichloroacetic acid (considered a by-product), and trichloroacetic acid.

MCA is used in the manufacture of indigo dye.

 Bromoacetic acid, which is esterified to produce the reagent ethyl bromoacetate.

 Trifluoroacetic acid, which is a common reagent in organic synthesis.

Amounts

of acetic acid used in these other applications together (apart from TPA)

account for another 5?10% of acetic acid use worldwide. These applications are,

however, not expected to grow as much as TPA production. acetic acid (CH3COOH),

also called ethanoic acid,  the most

important of the carboxylic acids. A dilute (approximately 5 percent by volume)

solution of acetic acid produced by fermentation and oxidation of natural

carbohydrates is called vinegar; a salt, ester, or acylal of acetic acid is

called acetate. Industrially, acetic acid is used in the preparation of metal

acetates, used in some printing processes; vinyl acetate, employed in the

production of plastics; cellulose acetate, used in making photographic films

and textiles; and volatile organic esters (such as ethyl and butyl acetates),

widely used as solvents for resins, paints, etc.

Acetic

acid is one of the world's most important chemicals and is a key raw material

for the production of a wide number of products we simply couldn?t do without

in our everyday lives. Molecular Formula: C2H4O2   Molecular Weight: 60.05196. Product of the

oxidation of ethanol and of the destructive distillation of wood. It is used

locally, occasionally internally, as a counterirritant and also as a reagent.

 

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายขาย

Thai Poly Chemicals Co., Ltd.

บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด

ที่อยู่36/5 ม.9  แขวง/ตำบลนาดี  เขต/อำเภอเมืองสมุทรสาคร  จังหวัดสมุทรสาคร รหัสไปรษณีย์74000

Tel.: 034854888, 034496284

Fax.: 034854899, 034496285

Mobile: 0824504888, 0800160016

Website : www.thaipolychemicals.com

Email1 : thaipolychemicals@hotmail.com

Email2 : info@thaipolychemicals.com

 

 



กรดอะซิติกกรดเอทาโนอิกกรดแอซีติกแอซิติกแอซิดอะซิติกแอซิดกรดแอซิติก
สินค้าแนะนำ
บทความ