ฟอร์มาลีน, ฟอร์มัลดีไฮด์, Formalin, Formaldehyde

฿1
ชื่อผู้ประกาศ : Thailandchemicals

เบอร์โทรศัพท์ : 034854888, 034496284

โทรศัพท์มือถือ : 0824504888, 0800160016

ที่อยู่ : 36/5 ม.9 ต.นาดี อ.เมืองสมุทรสาคร

รายละเอียดสินค้า

นำเข้าและจำหน่าย ฟอร์มาลีน, ฟอร์มัลดีไฮด์, Formalin, Formaldehyde สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายขาย  บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด โทรศัพท์ 034854888, 034496284 มือถือ 0824504888, 0800160016 โทรสาร 034854899, 034496285 

ฟอร์มาลิน, ฟอร์มัลดีไฮน์, Formalin, Formaldehyde

ทางเคมี (Chemical Name):  ฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde)

ชื่อพ้อง(Synonyms): Formaldehyde; Formalin; Methanal; Formic aldehyde; Methaldehyde 

ชื่อIUPAC(IUPAC Name): Formaldehyde

สูตรเคมี(Chemical Formula): CH2O

ฟอร์มาลิน (Formalin) หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde) มีสูตรเคมีว่า CH2O คนทั่วไปรู้จักกันว่าเป็นสารที่ใช้สำหรับดองศพเพื่อไม่ให้ศพเน่าเปื่อย

ใช้ฆ่าเชื้อโรค ฆ่าเชื้อรา และทำความสะอาดห้องคนป่วย

ลักษณะทั่วไปของฟอร์มาลินเป็นสารละลายใส ไม่มีสี มีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว

เป็นสารรีดิวซ์รุนแรง เมื่อสัมผัสกับอากาศจะถูกออกซิไดส์ช้า ๆ

ไปเป็นกรดฟอร์มิกซึ่งมีฤทธิ์กัดกร่อน มีค่า pH ประมาณ 2.8-4.0 รวมตัวได้กับน้ำและแอลกอฮอล์ ชื่ออื่น ๆ ของฟอร์มาลิน คือ Methanal; Formic aldehyde; Methaldehyde. ฟอร์มาลินเป็นสารที่นิยมใช้กันในหลายด้าน ในด้านการแพทย์ ใช้ในการเก็บรักษาตัวอย่างทางกายวิภาค (anatomical specimens) เพื่อคงสภาพของเนื้อเยื่อไม่ให้เน่าเสีย

ใช้ฆ่าเชื้อโรคในเครื่องมือต่าง ๆ เช่น เครื่องฟอกเลือด (เครื่องล้างไต)

เครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมและสังเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยา วัคซีน

ไอระเหยของฟอร์มาดีไฮด์สามารถนำมาอบห้องฆ่าเชื้อโรคตามโรงพยาบาล ในการทำเครื่องสำอางจะใช้สารฟอร์มาลินในยาสีฟัน

ยาบ้วนปาก สบู่ ครีมโกนหนวดเพื่อฆ่าเชื้อโรค

โดยใช้เป็นส่วนประกอบในความเข้มข้นที่ต่ำมาก ใช้ในน้ำยาดับกลิ่นตัว

ใช้เป็นส่วนประกอบของแชมพูสำหรับสัตว์เลี้ยง เป็นต้น ในด้านอุตสาหกรรม

ฟอร์มาลินมีสมบัติทำให้ผ้าและกระดาษแข็งเกาะกัน จึงนำมาใช้ในการทำบอร์ดหรือไม้อัด

อุตสาหกรรมสิ่งทอใช้ผลิตสารที่ใช้เปลี่ยนแปลงลักษณะน้ำหนักและความแข็ง
แรงของไหมสังเคราะห์

รักษาผ้าไม่ให้ยับหรือย่น ในอุตสาหกรรมกระดาษ ใช้เพื่อให้กระดาษลื่นและกันน้ำได้ เป็นต้น

ส่วนในด้านการเกษตรใช้สารฟอร์มาลินทำลายและป้องกันจุลินทรีย์ที่ทำให้ต้นไม้เป็นโรค

ใช้เก็บรักษาและป้องกันผลิตผลเกษตรจากการเสียหายระหว่างการขนส่ง ใช้ฆ่าเชื้อราในดิน

ใช้เป็นส่วนผสมของสารละลายที่ใช้เคลือบผัก ผลไม้จำพวกส้มระหว่างการเก็บเกี่ยวเพื่อชะลอการเน่าเสีย

เป็นต้น พ่อค้า แม่ค้า นิยมนำฟอร์มาลินมาแช่ผัก เนื้อสัตว์ และอาหารทะเลสด

เพื่อทำให้อาหารต่างๆ สดอยู่ได้นานไม่เน่าเสียเร็ว

แต่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค

ฟอร์มาลิน หรือ สารละลายฟอร์มาลดีไฮด์

หมายถึงสารละลายที่ประกอบด้วยแก๊ส ฟอร์มาลดีไฮด์ประมาณร้อยละ 37-40

(ในน้ำ) มีเมทานอลปนอยู่ประมาณร้อยละ 10-15 เพื่อป้องกันไม่ให้ฟอร์มาลินเปลี่ยนรูปไปเป็นโพลิเมอร์พาราฟอร์มาดีไฮด์ซึ่ง

เป็นพิษมากกว่าฟอร์มาลินมาก ฟอร์มาลินเป็นสารที่ใช้สำหรับดองศพเพื่อไม่ให้ศพเน่าเปื่อย

ใช้ฆ่าเชื้อโรค ฆ่าเชื้อรา และทำความสะอาดห้องคนป่วย ดังนั้นพ่อค้า

แม่ค้าจึงนิยมนำฟอร์มาลินมาแช่ผัก เนื้อสัตว์ และอาหารทะเลสด ทำให้อาหารต่างๆ

สดอยู่ได้นาน โดยไม่เน่าเสียเร็ว แต่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้

ดังนั้นฟอร์มาลินหรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์

เป็นวัตถุห้ามใช้ในอาหารตามประกาศของกระทรวงสาธารณสุข หากใครใส่สารนี้ในอาหาร

จะต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน
2 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ลักษณะทั่วไปของฟอร์มาลินเป็นสารละลายใส

ไม่มีสี มีกลิ่นฉุนเฉพาะตัว เป็นสารรีดิวซ์รุนแรง เมื่อสัมผัสกับอากาศจะถูกออกซิไดส์ช้า

ๆ ไปเป็นกรดฟอร์มิกซึ่งมีฤทธิ์กัดกร่อน มีค่า
pH ประมาณ 2.8-4.0 สามารถรวมตัวได้กับน้ำ แอลกอฮอล์ แต่ฟอร์มาลินไม่สามารถใช้ร่วมกับสารดังต่อไปนี้

คือ ด่างทับทิม ไอโอดีน และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์

ถ้าเป็นฟอร์มาลินที่เก็บไว้นานหรือเก็บไว้ที่อุณหภูมิต่ำกว่า
40 องศาฟาเรนไฮต์ ( 4.4 องศาเซลเซียส )

ฟอร์มาลินจะเปลี่ยนรูปไปเป็น พาราฟอร์มาดีไฮด์

ซึ่งมีลักษณะเป็นตะกอนสีขาวจึงไม่ควรนำไปใช้ เพราะจะเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ

ฟอร์มาลินพบได้ที่ไหนบ้าง ?

ฟอร์มาลินเป็นสารที่ใช้สำหรับดองศพเพื่อไม่ให้ศพเน่าเปื่อย

ใช้ฆ่าเชื้อโรค ฆ่าเชื้อรา และทำความสะอาดห้องคนป่วย ดังนั้นพ่อค้า

แม่ค้าจึงนิยมนำฟอร์มาลินมาแช่ผัก เนื้อสัตว์ และอาหารทะเลสด ทำให้อาหารต่างๆ

สดอยู่ได้นาน โดยไม่เน่าเสียเร็ว

แต่ก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้และฟอร์มาลินยังเป็นสารที่นิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์

พลาสติก และสิ่งทอ

ดังนั้นจึงสามารถพบฟอร์มาดีไฮด์ซึ่งเป็นไอระเหยที่เป็นพิษได้จากวัสดุ

สังเคราะห์และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่น กาว (วิทยาศาสตร์) ฝ้าเพดานสำเร็จรูป

ผ้าใยสังเคราะห์ เตาแก๊สหุงต้ม สีทาบ้าน น้ำยาเคลือบเงาไม้ วัสดุบุผิว

เฟอร์นิเจอร์ พาร์ติเคิลบอร์ด พรมสังเคราะห์ กระดาษทิชชู  น้ำยาทำความสะอาด เป็นต้น

ซึ่งไอระเหยฟอร์มาดีไฮด์นั้นจัดเป็นสารพิษในอากาศ

ทำให้เกิดมลพิษในอากาศและถ้าพบฟอร์มาดีไฮด์ในปริมาณมากก็อาจเป็นอันตรายกับ

ผู้ที่ได้รับได้

ประโยชน์ของฟอร์มาลินมีอะไรบ้าง ?

ฟอร์มาลินเป็นสารที่นิยมใช้กันในหลายด้าน ดังนี้   

1. ด้านการแพทย์

    - ใช้ในการเก็บรักษา anatomical specimens เพื่อคงสภาพของเนื้อเยื่อไม่ให้เน่าเสีย

    - ใช้สารละลายฟอร์มาลินสำหรับฆ่าเชื้อโรคในเครื่องมือต่าง

ๆ เช่น เครื่องฟอกเลือด         

(เครื่องล้างไต) เครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมและสังเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยา

วัคซีค

    - นอกจากนี้ ไอระเหยของฟอร์มาดีไฮด์สามารถนำมาอบห้องฆ่าเชื้อโรคตามโรงพยาบาลได้ด้วย

    - สารละลายฟอร์มาลินมีฤทธิ์ฆ่าเชื้อรา

2. เครื่องสำอาง

     - ใช้ในยาสีฟัน ยาบ้วนปาก สบู่ ครีมโกนหนวด เพื่อฆ่าเชื้อโรค โดยใช้เป็นส่วนประกอบในความเข้มข้นที่ต่ำมาก

    - ใช้ในเครื่องสำอางเพื่อไม่ให้เหงื่อออกมาก

    - ใช้ในน้ำยาดับกลิ่นตัว และอื่นๆ

    - ใช้เป็นส่วนประกอบของแชมพูที่ใช้สำหรับสัตว์เลี้ยง

3. ด้านอุตสาหกรรม

    - สารประกอบเชิงซ้อนของฟอร์มาลินมีคุณสมบัติทำให้ผ้า

และกระดาษแข็งเกาะกัน จึงนำมาใช้ในการทำบอร์ด หรือไม้อัด ใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ

เพื่อผลิตผงที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงลักษณะน้ำหนักและความแข็งแรงของไหม สังเคราะห์

ใช้ในการรักษาผ้า ไม่ให้ยับ หรือย่น ในอุตสาหกรรมกระดาษ

เพื่อให้กระดาษลื่นและกันน้ำได้

    - ฟอร์มาลินมีประโยชน์ใช้เป็นสารตั้งต้นสำหรับผลิตภัณฑ์อื่นอีกมากมาย

ที่ใช้มากคือนำไปทำเม็ดพลาสติกชนิดต่าง ๆ ที่มีชื่อเรียกกันว่า

ยูเรีย-ฟอร์มัลดีไฮด์ (urea ? formaldehyde) หรือ ฟีนอล-ฟอร์มัลดีไฮด์ (phenol ? formaldehyde) ที่ใช้เป็นกาวสำหรับเฟอร์นิเจอร์ไม้ ใช้ทำโฟมเพื่อเป็นฉนวน เป็นต้น และใช้ในการผลิตเรซิน (melamine ? formaldehyde)

    - ใช้ในการสังเคราะห์สีต่างๆ เช่น สีคราม สีแดง สีอะครีลิก

    - ใช้ในการย้อมเพื่อปรับปรุงให้สีและสีย้อมติดแน่นขึ้น

    - ใช้ในการฟอกสีและการพิมพ์ และฟอกหนัง เป็นต้น

    - ใช้ในการผสมโลหะ เพื่อระงับการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชัน

    - ใช้สำหรับถ่ายภาพ ทำให้เก็บรักษาได้นาน  

4. ด้านการเกษตร

     - ใช้สำหรับการทำลายและป้องกันจุลินทรีย์และต้นไม้ที่เป็นโรค

     - ใช้ป้องกันผลิตผลเกษตรจากการเสียหายระหว่างการขนส่ง และการเก็บรักษา

     - ใช้ฆ่าเชื้อ ฆ่าเชื้อราในดิน

     - ใช้ทำความสะอาดสถานที่เก็บอุปกรณ์ เช่น ลังไม้

     - ใช้เป็นส่วนผสมของสารละลายที่ใช้เคลือบผัก ผลไม้จำพวกส้มระหว่างการเก็บเกี่ยวเพื่อชะลอการเน่าเสีย

     - ใช้เป็นปุ๋ย

     - ใช้ในบ่อเลี้ยงปลาเพื่อป้องกันการเกิดโรคในปลา

ฟอร์มาลินเป็นสารละลายที่ประกอบด้วย ฟอร์มาดีไฮด์ 37-40 เปอร์เซ็นต์ ในการใช้ถือว่าเป็น

100 เปอร์เซ็นต์ ในธุรกิจการเลี้ยงสัตว์น้ำ มีสูตรทางเคมีคือ CH2O ซึ่งปกติจะมีเมธานอลผสมอยู่ประมาณ 10-15

เปอร์เซ็นต์

เพื่อป้องกันไม่ให้ฟอร์มาลินเปลี่ยนรูปเป็นพาราฟอร์มาดีไฮด์ซึ่งเป็นพิษมากกว่าฟอร์มาลินมาก

ลักษณะโดยทั่วไปของฟอร์มาลิน คือ เป็นสารละลายใส มีกลิ่นฉุน เป็นสารรีดิวซ์รุนแรง เมื่อสัมผัสกับอากาศจะถูก

ออกซิไดส์ช้า ๆ ไปเป็นกรดฟอร์มิก มีค่า pH ประมาณ 2.8-4.0 สามารถรวมตัวได้กับน้ำ แอลกอฮอล์ แต่ฟอร์มาลิน

ไม่สามารถใช้ร่วมกับสารดังต่อไปนี้ คือ ด่างทับทิม ไอโอดีน และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ถ้าเป็นฟอร์มาลินที่เก็บ

ไว้นานหรือเก็บไว้ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 40 องศาฟาเรนไฮด์ ( 4.4 องศาเซลเซียส ) ฟอร์มาลินจะเปลี่ยนรูปไปเป็น

พาราฟอร์มาดีไฮด์

ซึ่งมีลักษณะเป็นตะกอนสีขาวจึงไม่ควรนำไปใช้ เพราะจะเป็นอันตรายต่อสัตว์น้ำ

ฟอร์มาลิน

มีผลไปลดปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำได้โดยตรง โดยการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นดึงออกจากน้ำแล้วเปลี่ยน

เป็นกรดฟอร์มิก ทำให้ pH ลดลง ซึ่งฟอร์มาลินที่ระดับความเข้มสูงๆ สามารถลดปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำ

ลงได้มากกว่าที่ระดับความเข้มข้นต่ำ นอกจากนี้ฟอร์มาลินยังมีผลไปลดปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำได้ทางอ้อม

โดยการฆ่าแพลงก์ตอนพืชบางส่วนทำให้การผลิตออกซิเจนโดยการสังเคราะห์แสงของแพลงก์ตอนพืชลดลง

ในขณะเดียวกันมีการใช้ออกซิเจนเพื่อย่อยสลายแพลงก์ตอนโดยจุลินทรีย์ จึงมีผลทำให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลาย

น้ำลดลงได้มากกว่าปกติ

หลังจากการใช้ฟอร์มาสินจะพบว่าปริมาณแอมโมเนียจะลดลง

เนื่องจากแอมโมเนียในน้ำสามารถรวมตัวกับฟอร์มาลินกลายเป็นสารประกอบที่เรียกว่า methylenetetramine จึงทำให้ปริมาณแอมโมเนียในน้ำลดลง การสลายตัวของฟอร์มาลินขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของน้ำและการใช้เครื่องให้อากาศถ้าอุณหภูมิสูงและมีการใช้เครื่องให้

อากาศฟอร์มาลินจะมีการสลายตัวเร็ว ฟอร์มาลินในระดับ ความเข้มข้น 25 ppm. ( 50 ลิตรต่อไร่ ที่ระดับความลึก

1.20 เมตร ) จะสลายตัวหมด ภายในเวลาไม่เกิน 36 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิน้ำ 27-30 องศาเซลเซียส

ในปัจจุบันมีการใช้ฟอร์มาลินกันอย่างแพร่หลายในการป้องกันโรคดวงขาว (ตัวแดงดวงขาว )

ในปริมาณ 50 ลิตรต่อไร่ ที่ระดับความลึก 1.20 เมตร ( 25-30 ppm. ) นอกจากฟอร์มาลินมีประสิทธิภาพในการ

ป้องกันโรคดวงขาว ยังมีประสิทธิภาพในการป้องกันโปรโตซัวจำพวก ซูโอแทมเนียม ( Zoothamnium ) รวมทั้ง

ป้องกันและรักษาโรคเรืองแสงที่เกิดจากเชื้อ วิบริโอ ( Vibrio ) โดยใช้ฟอร์มาลินเข้มข้น 25-30 ppm. แช่ตลอด

ฟอร์มาลดีไฮด์ (อังกฤษ: formaldehyde) หรือที่รู้จักกันในชื่อ ฟอร์มาลีน สูตรทางเคมี คือ CH2O เป็นสารกันเสียที่มีส่วนผสมในเครื่องสำอาง แชมพู น้ำยาเคลือบเล็บ

น้ำยาบ้วนปาก ยาระงับกลิ่นผ้า นอกจากนั้นแล้ว สารฟอร์มาลดีไฮด์พบมากในที่อยู่อาศัย

เนื่องจากเป็นสารที่อยู่ในกาวและสารเคลือบเฟอร์นิเจอร์ไม้ ไม้อัด และไม้แปรรูปอื่นๆ

ซึ่งใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง รวมไปถึงสีทาบ้านบางชนิด

Formaldehyde

is an organic compound with the formula CH2O or HCHO. It is the simplest

aldehyde, hence its systematic name methanal. The common name of the substance

comes from its similarity and relation to formic acid.

A

gas at room temperature, formaldehyde is colorless and has a characteristic

pungent, irritating odor. It is an important precursor to many other materials

and chemical compounds. In 1996, the installed capacity for the production of

formaldehyde was estimated to be 8.7 million tonnes per year. Commercial

solutions of formaldehyde in water, commonly called formol, were formerly used

as disinfectants and for preservation of biological specimens.

In

view of its widespread use, toxicity and volatility, exposure to formaldehyde

is a significant consideration for human health. In 2011, the US National

Toxicology Program described formaldehyde as "known to be a human

carcinogen".

Formaldehyde

is more complicated than many simple carbon compounds because it adopts

different forms. One important derivative is the cyclic trimer metaformaldehyde

or 1,3,5-trioxane with the formula (CH2O)3. There is also an infinite polymer

called paraformaldehyde. These compounds behave, in a chemical sense, similarly

to the molecule CH2O.

When

dissolved in water, formaldehyde forms a hydrate methanediol with the formula

H2C(OH)2. This diol also exists in equilibrium with a series of oligomers

(short polymers), depending on the concentration and temperature. A saturated

water solution, that contains about 40% formaldehyde by volume or 37% by mass,

is called "100% formalin". A small amount of stabilizer, such as

methanol, is usually added to suppress oxidation and polymerization. A typical

commercial grade formalin may contain 10?12% methanol in addition to various

metallic impurities

Industrial applications

Formaldehyde

is a common precursor to more complex compounds and materials. In approximate

order of decreasing consumption, products generated from formaldehyde include

urea formaldehyde resin, melamine resin, phenol formaldehyde resin,

polyoxymethylene plastics, 1,4-butanediol, and methylene diphenyl diisocyanate.

The textile industry uses formaldehyde-based resins as finishers to make

fabrics crease-resistant. Formaldehyde-based materials are key to the

manufacture of automobiles, and used to make components for the transmission,

electrical system, engine block, door panels, axles and brake shoes. The value

of sales of formaldehyde and derivative products was over $145 billion in 2003,

about 1.2% of the gross domestic product (GDP) of the United States and Canada.

Including indirect employment, over 4 million people work in the formaldehyde

industry across approximately 11,900 plants in the U.S. and Canada.

When

treated with phenol, urea, or melamine, formaldehyde produces, respectively,

hard thermoset phenol formaldehyde resin, urea formaldehyde resin, and melamine

resin. These polymers are common permanent adhesives used in plywood and

carpeting. It is used as the wet-strength resin added to sanitary paper

products such as (listed in increasing concentrations injected into the paper

machine headstock chest) facial tissue, table napkins, and roll towels. They

are also foamed to make insulation, or cast into moulded products. Production

of formaldehyde resins accounts for more than half of formaldehyde consumption.

Formaldehyde

is also a precursor to polyfunctional alcohols such as pentaerythritol, which

is used to make paints and explosives. Other formaldehyde derivatives include

methylene diphenyl diisocyanate, an important component in polyurethane paints

and foams, and hexamine, which is used in phenol-formaldehyde resins as well as

the explosive RDX. Formaldehyde has been found as a contaminant in several bath

products, at levels from 54?610 ppm: it is thought to arise from the breakdown

of preservatives in the products, most frequently diazolidinyl urea.

Disinfectant and biocide

An

aqueous solution of formaldehyde can be useful as a disinfectant as it kills

most bacteria and fungi (including their spores). Formaldehyde solutions are

applied topically in medicine to dry the skin, such as in the treatment of

warts. Many aquarists use formaldehyde as a treatment for the parasites

Ichthyophthirius multifiliis and Cryptocaryon irritans.

Formaldehyde

is used to inactivate bacterial products for toxoid vaccines (vaccines that use

an inactive bacterial toxin to produce immunity). It is also used to kill

unwanted viruses and bacteria that might contaminate the vaccine during

production. Urinary tract infections are also often treated using a derivative

of formaldehyde (methenamine), a method often chosen because it prevents

overuse of antibiotics and the resultant development of bacterial resistance to

them. In an acid environment methenamine is converted in the kidneys to

formaldehyde, which then has an antibacterial effect in the urinary tract. This

is not safe for long term use due to the carcinogenic effect of formaldehyde.

Some topical creams, cosmetics and personal hygiene products also contain

derivatives of formaldehyde as the active ingredients that prevent the growth

of potentially harmful bacteria.

Tissue fixative and embalming agent

Octopuses preserved in formaldehyde solution

Steve O'Shea injecting a giant squid specimen with formalin

Formaldehyde

preserves or fixes tissue or cells by a mixture of reversible (short exposure

time and low temperatures) and irreversible (long exposure time and higher

temperatures) cross-linking of primary amino groups in proteins with other

nearby nitrogen atoms in protein or DNA through a -CH2- linkage. This is

exploited in ChIP-on-chip genomics experiments, where DNA-binding proteins are

cross-linked to their cognate binding sites on the chromosome and analyzed to

determine what genes are regulated by the proteins. Formaldehyde is also used

as a denaturing agent in RNA gel electrophoresis, preventing RNA from forming

secondary structures. A solution of 4% formaldehyde fixes pathology tissue specimens

at about one mm per hour at room temperature.

Formaldehyde

solutions are used as a fixative for microscopy and histology because of

formaldehyde's ability to perform the Mannich reaction, although the percentage

formaldehyde used may vary based on the method of analysis. Additionally, the

methanol used to stabilize formaldehyde may interfere with the ability to

properly fix tissue or cells, and therefore commercial formaldehyde

preparations are available that are packaged in glass ampules under an inert

gas to prevent the use of contaminating methanol for stabilization.

Formaldehyde-based solutions are also used in embalming to disinfect and

temporarily preserve human and animal remains. It is the ability of

formaldehyde to fix the tissue that produces the tell-tale firmness of flesh in

an embalmed body. In post mortem examinations a procedure known as the

"sink test" involves placing the lungs of an animal in an aqueous

solution of formaldehyde; if the lungs float it suggests the animal was

probably breathing or able to breathe at the time of death.

Although

formaldehyde solutions are commonly used as a biological preserving medium,

usually for smaller specimens, it delays, but does not prevent, decay.

Several

European countries restrict the use of formaldehyde, including the import of

formaldehyde-treated products and embalming. Starting September 2007, the

European Union banned the use of formaldehyde due to its carcinogenic

properties as a biocide (including embalming) under the Biocidal Products

Directive (98/8/EC). Countries with a strong tradition of embalming corpses,

such as Ireland and other colder-weather countries, have raised concerns.

Despite reports to the contrary, no decision on the inclusion of formaldehyde

on Annex I of the Biocidal Products Directive for product-type 22 (embalming

and taxidermist fluids) had been made as of September 2009.

Drug testing

Formaldehyde,

along with 18 M (concentrated) sulfuric acid makes Marquis reagent which can be

used to identify alkaloids and other compounds.

Hobbies

In

photography, formaldehyde is used in low concentrations for process C-41 (color

negative film) stabilizer in the final wash step, as well as in the process E-6

pre-bleach step, to obviate the need for it in the final wash.

 

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ฝ่ายขาย

Thai Poly Chemicals Co., Ltd.

บริษัท ไทยโพลีเคมิคอล จำกัด

ที่อยู่36/5 ม.9  แขวง/ตำบลนาดี  เขต/อำเภอเมืองสมุทรสาคร  จังหวัดสมุทรสาคร รหัสไปรษณีย์74000

Tel.: 034854888, 034496284

Fax.: 034854899, 034496285

Mobile: 0824504888, 0800160016

Website : www.thaipolychemicals.com

Email1 : thaipolychemicals@hotmail.com

Email2 : info@thaipolychemicals.com

 

 



ฟอร์มาลดีไฮด์ฟอร์มัลดีไฮด์Formalinน้ำยาดองศพFormaldehydeฟอร์มาลีน
สินค้าแนะนำ
บทความ